วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการสืบทอดธุรกิจ ครอบครัวในประเทศไทย

องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการสืบทอดธุรกิจ
ครอบครัวในประเทศไทย
(COMPONENTS INFLUENCING SUCCESSFUL
FAMILY BUSINESS SUCCESSION IN THAILAND)
พลอยนภัส รักกันยิ่ง   ดร.กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ์
----------------------------------------------------------------
บทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อถึงอิทธิพลและความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆที่มี ผลต่อความสำเร็จของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทยโดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลกับบริษัทที่เข้าอบรมสัมมนาหลักสูตรการบริหารธุรกิจครอบครัวอย่างมืออาชีพทั้งหมด125ตัวอย่าง
ผลการศึกษาพบว่าองค์ประกอบด้านความสามัคคีในครอบครัวความเต็มใจของทายาทในการรับช่วงต่อธุรกิจการเตรียมความพร้อมให้กับทายาทธุรกิจการยอมรับการเปลี่ยนแปลงบทบาทและความคาดหวังในความสามารถที่จะนาพาธุรกิจไปสู่ความยั่งยืนมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับปัจจัยด้านคุณลักษณะของครอบครัวองค์ประกอบบรรษัทภิบาลที่ดีข้อจากัดและแนวทางการจัดการทรัพยากรบุคคลและการมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับปัจจัยด้านการบริหารจัดการธุรกิจทั้งองค์ประกอบด้านคุณลักษณะของครอบครัวและองค์ประกอบด้านการบริหารจัดการธุรกิจมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับบริบทการสืบทอดธุรกิจโดยองค์ประกอบด้านคุณลักษณะของครอบครัวด้านการบริหารจัดการธุรกิจและบริบทการสืบทอดธุรกิจมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสาเร็จของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05

คำสำคัญ: ธุรกิจครอบครัวการสืบทอดองค์กรประกอบ

ABSTRACT
This study has objectives to study influence and relationship of various variables on success of family business succession in Thailand by using questionnaire to collect data with 125 firms attending seminar of the Professional Family Business Management.
The findings show harmony with family, willingness to inherit their business, readiness of successor, acceptance of role change, sustainable expectations in leading business have positive relationship with attribute of family. Good Governance, restrictions and management rules of human resource and participation of family member have positive relationship with business management. Both components of attribute of family and components of business management have positive relationship with environment of business succession. The Attribute of family, business management, and environment of business succession have positive relationship with success of business succession at significant level of .05.
KEY WORDS: FAMILY BUSINESS, SUCCESSION, COMPONENTS
บทนำ
ในประเทศไทยธุรกิจครอบครัวไทยถือเป็นพลังขับเคลื่อนสาคัญของระบบเศรษฐกิจแต่ยังขาดการศึกษาและค้นคว้าอย่างลึกซึ้งในบริบทของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวซึ่งถือเป็นประเด็นปัจจัยแห่งความสำเร็จของธุรกิจครอบครัวการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาในภาพรวมขององค์ประกอบที่มีนัยสำคัญต่อความสำเร็จในการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทยได้แก่ด้านคุณลักษณะของครอบครัวด้านการบริหารจัดการธุรกิจบริบทของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวซึ่งเป็นองค์ประกอบร่วมสำคัญนำไปสู่ความสำเร็จของการจัดการสืบทอดธุรกิจครอบครัวได้แก่ความพึงพอใจของผู้ก่อตั้งรวมทั้งทายาทผู้สืบทอดธุรกิจและความสามารถในการประกอบการของบริษัทของผู้สืบทอดธุรกิจครอบครัว
วัตถุประสงค์ในการวิจัย
1เพื่อศึกษาอิทธิพลด้านครอบครัวที่มีผลต่อความสาเร็จของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
2เพื่อศึกษาอิทธิพลด้านการบริหารจัดการธุรกิจที่มีผลต่อความสำเร็จของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
3. เพื่อศึกษาอิทธิพลด้านบริบทของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวที่มีผลต่อความสำเร็จในการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ด้านครอบครัวและด้านบริหารจัดการธุรกิจที่มีผลต่อบริบทของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
สมมติฐานของการวิจัย
1. องค์ประกอบในด้านครอบครัวมีอิทธิพลทางบวกต่อความสาเร็จของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
2. องค์ประกอบในด้านการบริหารจัดการธุรกิจมีอิทธิพลทางบวกต่อความสาเร็จของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
3. องค์ประกอบด้านบริบทของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวมีอิทธิพลทางบวกต่อความสาเร็จในการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
4. องค์ประกอบในด้านครอบครัวมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อบริบทของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
5. องค์ประกอบในด้านการบริหารจัดการธุรกิจมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อบริบทของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย

กรอบแนวคิด
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบสาคัญในด้านครอบครัวด้านการบริหารจัดการธุรกิจและบริบทของการสืบทอดธุรกิจซึ่งนาไปสู่ความสาเร็จของการจัดการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
2. ทาให้ได้ทราบองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการศึกษาปัจจัยหรือองค์ประกอบอื่นๆเพิ่มเติมที่มีผลต่อความสาเร็จในการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทย
3. เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการธุรกิจครอบครัวนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้และพัฒนาแผนการจัดการสืบทอดธุรกิจเพื่อความสาเร็จในการถ่ายโอนธุรกิจให้แก่ทายาทรุ่นต่อๆไปได้ในอนาคต
แนวคิด
แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการศึกษาเรื่ององค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการสืบทอดธุรกิจครอบครัวในประเทศไทยครั้งนี้ครอบคลุมเนื้อหาสาคัญต่างๆได้แก่
ธุรกิจครอบครัว (Family Business) ถือเป็นรูปแบบธุรกิจพื้นฐานขนาดเล็กในระดับรากหญ้าของระบบเศรษฐกิจในทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามวัฒนธรรมของประเทศแถบเอเชีย หรือแม้แต่ในประเทศแถบตะวันตก ยุโรป ธุรกิจครอบครัวจึงเป็นรูปแบบธุรกิจที่มีอยู่ทั่วโลก (Montgomery, B. J. and Sinclair, A. M., 2000: 3-7) และมีบทบาทสาคัญในการเป็นกลไกหลักขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศทั่วโลก ร้อยละ 75 ถึงร้อยละ 90 ของธุรกิจทั่วโลกเป็นธุรกิจครอบครัวหรือควบคุมโดยบุคคลในครอบครัว (Lanket al., 1994: 3-7) ในสหรัฐอเมริกา ธุรกิจครอบครัวมี 2 ใน 3 ของธุรกิจทั้งหมด ส่วนในประเทศแถบเอเชีย จากการศึกษาพบว่า ร้อยละ 75 เป็นธุรกิจครอบครัวของตระกูลใดตระกูลหนึ่ง หรือไม่ก็ควบคุมการบริหารโดยคนในตระกูลไม่ทางตรงก็ทางอ้อม (Montgomery, B. J. and Sinclair, A. M., 2000: 3-7) ในยุโรปตะวันตก พบว่าธุรกิจครอบครัวอยู่ในแถวหน้าของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ
ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาครั้งนี้โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลกับบริษัทที่เข้าอบรมสัมมนาหลักสูตรการบริหารธุรกิจครอบครัวอย่างมืออาชีพทั้งหมด125ตัวอย่างและใช้สถิติต่างๆได้แก่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสถิติไคสแควร์
สรุปผลการวิจัย
1. สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยด้านคุณลักษณะของครอบครัว ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ บริบทของการสืบทอดธุรกิจครอบครัว และการสืบทอดธุรกิจครอบครัว
พบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับมากยกเว้นปัจจัยด้านบริบทการสืบทอดธุรกิจครอบครัวอยู่ในระดับปานกลางโดยส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก
2 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
พบว่า ทุกตัวแปรมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับบริบทการสืบทอดธุรกิจและความสาเร็จของการสืบทอดธุรกิจครอบครัวอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
อภิปรายผล
ผลการศึกษาในครั้งนี้มีความสอดคล้องผลการศึกษาต่างๆของอาพลนววงศ์เสถียร (2551); Morris, M. H., Williams, R. W. and Nel, D. (1996); Sharma, P. (2001); Sharma, P., Chrisman J. J., Pablo, A. L., and Chua, J. H. (2003); Suh, I. Park, Y-H. and Park, T. (2008); Venter, E., Boshoff, C. & Maas, G. (2005)
ตารางสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
ทุกปัจจัยในตัวแปรอิสระแต่ละด้านมีความสัมพันธ์กับตัวแปร

ธุรกิจครอบครัวตั้งแต่เด็กเพื่อให้ทายาทได้ซึบซับความเป็นเจ้าของสิ่งเหล่านี้จะนามาซึ่งความสาเร็จในการสืบทอด
1.2ด้านการบริหารจัดการธุรกิจ
ธุรกิจครอบครัวควรมีการออกแบบโครงสร้างของธุรกิจให้มีความเหมาะสมและมีลักษณะของบรรษัทภิบาลที่ดีเพื่อเป็นการดึงดูดให้ทายาทเข้ามารับช่วงต่อในกิจการกระตุ้นให้สมาชิกในครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมในการทางานที่เป็นธุรกิจของครอบครัวอีกทั้งต้องวางแนวทางการจัดการทรัพยากรบุคคลให้มีความเหมาะสมเพื่อรองรับอีกด้วย
1.3บริบทของการสืบทอดธุรกิจครอบครัว
การเตรียมความพร้อมให้กับทายาทเช่นสนับสนุนด้านการศึกษาการหาผู้ช่วยหรือที่ปรึกษารวมทั้งควรมีการจัดเตรียมกระบวนการสืบทอดอย่างเป็นรูปธรรมถือว่ามีความสาคัญกับการสืบทอดครอบครัวต้องมีการวางแผนและจัดเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆให้กับทายาท
2 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป
1. นักวิจัยที่สนใจเรื่องนี้อาจศึกษาปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว
2.เนื่องจากการศึกษานี้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรภายในเท่านั้นในการศึกษาภายหน้าควรทาการทดสอบความเหมาะสมของแบบจาลองต่อไป
เอกสารอ้างอิง
กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์(2554)ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคลประจาปี2554รายงานกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์.
เกศินี วิฑูรชาติ. (2546). “การสารวจสภาพปัจจุบันและปัญหาของทายาท SMEs ในการสืบสานกิจการต่อพร้อมช่วงทางการปรับตัวของกิจการในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ.” วารสารบริหารธุรกิจ ประจาเดือนมกราคม-มีนาคม 2550: 1-13.
จันทิมา สมรรคะบุตร. (2553). “การสืบทอดของธุรกิจครอบครัว.” วารสารนักบริหาร (Executive Journal), 30(3), 88-90.
จินตนา สร้อยจิต. (2553). “ประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสารโดยผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์ กรณีศึกษา บริษัท อาร์ เอส โปรโมชั่น จากัด (มหาชน).” รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระสาขาวิชาการจัดการธุรกิจทั่วไป
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต.
ดนัย เทียนพุฒ. (2552). “เจาะ ดี เอ็น เอ ธุรกิจครอบครัวไทย.” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 5(2): 1-29.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2550). รายงานการกากับดูแลกิจการที่ดีประจาเดือนสิงหาคม 2550. กรุงเทพมหานคร: ฝ่ายกากับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.
ธนกฤต วงศ์มหาเศรษฐ์. (2553). “ถ่ายทอดความเป็นเจ้าของธุรกิจครอบครัว.” วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 30(4): 126-129.
นวพล วิริยะกุล รอน ศิริวันสานฑ์ และภาคนี วิริยะรังสฤษฏ์. (2552). “สืบทอดธุรกิจครอบครัว.” วารสารการเงินธนาคาร.
ภัทริกา มณีพันธ์ จินตนา จันเรือนและกุลวรรณ โสตถิกุล. (2551). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสาเร็จของการถ่ายโอนธุรกิจครอบครัวขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดลาปาง.” รายงานวิจัย ศูนย์สาระสนเทศและเทคโนโลยี วิทยาลัยอินเตอร์เทคลาปาง.
ภูษิต วงศ์หล่อสายชลและวรรณรพี บานชื่นวิจิตร. (2551). “ธุรกิจครอบครัวของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 28(3): 44-56.
วิชิต อู่อ้น. (2548). การวิจัยและการสืบค้นข้อมูลทางธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร:
พริ้นท์แอทมี (ประเทศไทย).
สานักพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2544). ข้อมูลวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผู้ประกอบการ. รายงานกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม.
อัจฉรา โยมสินธุ์. (2544). “บรรษัทภิบาลกลยุทธ์ธุรกิจแบบยั่งยืน.”วารสารนักบริหาร, 21(3): 33-38.
อาพล นววงศ์เสถียร. (2551). “ปัจจัยที่มีผลต่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจครอบครัวในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาตรดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
อาพล นววงศ์เสถียร. (2552). “การสืบทอดธุรกิจครอบครัว: ประเด็นสาคัญของความท้าทายเพื่อการอยู่รอดและยั่งยืน.” วารสารบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาธรรมศาสตร์, 32(124): 39-55.
อาพล นววงศ์เสถียร. (2552). “ทุนครอบครัว: ความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจครอบครัว.” วารสารวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก, 6(9), 1-18.
เอกชัย อภิศักดิ์กุลและศิวนันท์ หมุนสิงห์. (2552). “Welcome to my family business.” วารสารศูนย์ศึกษาธุรกิจครอบครัวและ SMEs
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
Adendorff, C., Boshoff, C., Court, P., and Radloff, S. (2005). “The impact of planning on good governance practices in South African Greek family businesses.” Management Dynamics, 14(4): 34-45.
Ambrose, D. M. (1983). “Transfer of family-owned business.” Journal of Small Business Mannaement, 21(1): 49-56.
Aronoff, C. E. (1998). “Megatrends in family business.” Family Business Review, 11(3): 181-186.
Aronoff, C. E., and Ward, J. L. (1997). “Pay in family business.” Nation’s Business, 85(5): 23-29.
Astrachan, J.H. and Kolenko, T.A. (1994). “A neglected factor explaining family business success: Human resource practices.” Family Business Review, 7(3): 251–262.
Astrachan, J.H., Klein, S.B., & Smyrnios, K.X. (2002). “The F-PEC scale of family influence: A proposal for solving the family business definition problem.” Family Business Review, 15(1): 45-58.
Babicky, J. (1987). “Consulting to the family business.” Journal of Management Consulting, 3(4): 25–32.
Bachkaniwala, D., Wright, M., and Ram, M. (1989). “Succession in South Asian family businesses in the UK.” International Small Business Journal, 19(4): 15-27.
Barach, J. A. and Ganitsky, J. B. (1995). “Successful succession in family business.” Family Business Review, 8(2): 131-156.
Barry, B. (1975). “The development of organization structure in the family firm.” Journal of General Management, 3(1), 42–60.
Beckhard, R. and Dyer Jr., W. G. (1983). “SMR forum: Managing change in the family firm-issues and strategies.” Sloan Management Review, 24(3): 59-65.
Bertrand, M. and Johnson, S. (2008). “Mixing family with business: A study of Thai business groups and the families behind them.” Journal of Financial Economics, 88(3): 466-498.
Birley, S., Ng, D. and Godfrey, A. (1999). “The family and the business.” Long Range Planning, 32(6): 598–608.
Breton-Miller, I. L., Miller, D. and Sterier, L. P. (2004). “Toward an integrative model of effective FOB succession.” Entrepreneurship Theory and Practice (Summer)
Brockhaus, R. H. (2004). “Family business succession: Suggestions for future research.” Family Business Review, 17(2): 165-177.
Bunkanwanicha, Pramuan, Fan, Joseph P.H., and Wiwattanakantang, Yupana. (2008). “Why do shareholders value marriage?.” ECGI - Finance working paper, No.227/2008, 18 March 2008
Cabrera- Suárez, K., De Saa´-Pe´rez, P. and Garcı´a-Almeida, D. (2001). “The succession process from a resource and knowledge-based view of the family firm.” Family Business Review, 14(1), 37–46.
Cabrera-Suárez, K. (2005). “Leadership transfer and successor’s development in family firm”. Leadership Quarterly, 16(1): 71-96.
Cadieux, L. (2007). “Succession in small and medium-sized family business: Toward a typology of predecessor roles during and after instatement of the successor.” Family Business Review, 20(2): 95-109.
Carlock, R. S. and Ward, J. C. (2001). Strategic planning for the family business: Parallel planning to unite the family and business. New York: Palgrave Macmillan.
Chrisman, J. J., Chua, J. H. and Sharma, P. (1998). “Important attributes of successors in family businesses: An exploratory study.” Family Business Review, 11(1): 19-34.
Ciampa, D. and Watkins, M. (1999). “The successor’s dilemma.” Harvard Business Review, 77(6): 161–168.
Davis, J. A. (1971). Elementary survey analysis. New York: Prentice-Hall.
Davis, J. H., Schoorman, F. D., and Donaldson, L. (1997). “Toward a stewardship theory of management.” Academy of Management Review, 22(1): 20-47.
Dickinson, T. M. (2000). “Critical success factors for succession planning in family businesses.” Unpublished research report in partial fulfillment of Master in Business Administration degree, Faculty of Business Administration, University of the Witwatersrand.
Donckels, R. and Lambrecht, J. (1999). “The re-emergence of family-based enterprises in east central Europe: What can be learned from family business research in the Western world?.” Family Business Review, 12(2): 171–188.
Dumas, C., Dupuis, J. P., Richer, F., and St.-Cyr, L. (1995). “Factors that influence the next generation’s decision to take over the family farm.” Family Business Review, 8(2): 99–120.
Dyck, B., Mauws, M., Starke, F. A. and Mischke, G. A. (2002). “Passing the baton: The importance of sequence, timing, teaching and communication in executive succession.” Journal of Business Venturing, 17(2): 162-173.
Faccio, M. and Lang, Larry H. P. (2002). “The ultimate ownership in Western European corporations.” Journal of Financial Economics, 65(3): 365-395.
Fox, M., Nilakant, V. and Hamilton, R. T. (1996). “Managing succession in family-owned businesses.” International Small Business Journal, 15(1): 15-25.
Fullard, F. (1999). “The importance of family business.” Accounting and Business, (March): 16-22.
“Effective successors in family-owned businesses: Significant elements.” Family Business Review, 9(2): 185–197.
Goldberg, S. D., and Wooldridge, B. (1993). “Self-confidence and managerial autonomy: Successor characteristics critical to succession in family firms.” Family Business Review, 6(1): 55–73. Griffeth, R. W., Allen, D. G., and Barrett, R. (2006). “Integration of family owned business succession with turnover and life cycle models: Development of a successor retention process model.” Human Resource Management Review, 16(4): 490-507. Hall, D. T. (1986). “Dilemmas in linking succession planning to individual executive learning.” Human Resource Management, 25(2): 235-265. Hamlyn, B. (1994). The quest for growth: A survey of UK private companies. London: Hamlyn.
Handler, W. C. (1989). “Managing the family firm succession process: The next-generation family member’s experience.” Unpublished doctoral thesis, Boston, MA: Boston University.
Handler, W. C. (1992). “The succession experience of the next-generation.” Family Business Review, 5(3): 283-307.
Harju, J. and Heinonen, J. (2004). The keys success in a family business. Turku: Turku School of Economics and Business Administration, Small Business Institute.
Harvey, M. and Evans, R.E. (1994). “Family business and multiple levels of conflict.” Family Business Review, 7(4): 331-348.
Harvey, M. and Evans, R. E. (1995). “Life after succession in the family business: Is it really the end of problems?.” Family Business Review, 8(1): 3–16.
Hume, S. A. (1999). “An assessment of the risk of family business failure.” Unpublished doctoral thesis, NH: Antioch University.
Ibrahim, A.B., Soufani, K., and Lam, J. (2001). “A study of succession in a family firm.” Family Business Review, 14 (3): 245-258.
Ibrahim, A. B., Soufani, K., Poutziouris, P., and Lam, J. (2004). “Qualities of an effective successor: The role of education and training.” Education + Training, 46(8): 474-480.
Kaye, K. (1999). “Is succession such a sweet dream?.” Family Business Review, 10(1): 15–17.
Klein, S.B. (2000). “Family business in Germany: Significance and structure.” Family Business Review, 13(3): 157-182.
Kuratko, D. F. and Hodgetts, R. M. (2004). Entrepreneurship: Theory, process, practice. Mason, Ohio: South-Western College Publishers.
Lank, A., Owens, R., Martinez, J. L., and Riedel, H. (1994). “The state of family businesses in various countries around the world.” The Family Business Network Newsletter, (9): 3–7.
training: The importance of mediating factors.” Family Business Review,7(1), 39–59.
Litz, R.A. (1995). “The family business: Toward definitional clarity.” In Best Paper Proceedings of the Academy of Management Conference
Longenecker, J. G., Petty, C. W., Moore, J. W. and Palich, L. E. (2006). Small business management, An entrepreneurial emphasis. London: Thomson South Western.
Malinen, P. (2001). “Like father like son? Small family business succession problems in Finland.” Enterprise and Innovation Management Studies, 2(3): 195-204.
Malinen, P. (2004). “Problems in transfer of business experienced by Finnish entrepreneurs.” Journal of Small Business and Enterprise Development, 11(1): 130-139.
Matthews, C. H., Moore, T. W., and Fialko, A. S. (1999). “Succession in the family firm: A cognitive categorization perspective.” Family Business Review, 12(2): 159–169.
transitions.” Journal of Business Venturing, 12(5): 385–401.
Morris, M. H., Williams, R. W. and Nel, D. (1996). “Factors influencing family business succession.” International Journal of Entrepreneurial Behaviour & Research, 2(3): 68-81.
Maury, B. (2006). “Family ownership and firm performance: Empirical evidence from Western European corporations.” Journal of corporate finance, 12(2): 321-341.
Neubauer, F. and Lank, A.G. (1998). The family business: Its governance for sustainability. New York: Routledge.
Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory. 2nd edition, New York: McGraw-Hill.
Parrish, S. (2009). “Successfully transferring the family business: A new methodology.” Journal of Financial Service Professionals, 63(3): 47-55.
Phan, P. H., Butler, J. E., and Lee, Soo-Hoon. (2005). Corporate governance and management succession in family businesses. Report of Entrepreneurship and Management Conference
Post, J. M. and Robins, R. S. (1993). “The captive king and his captive court: The psycho political dynamics of the disabled leader and his inner circle.” Family Business Review, 6(2): 203-221.
Poutziouris, P. (2000). Venture capital and small-medium size family companies: An analysis from the demand perspective. In Family business – Tradition or entrepreneurship in the new economy. Book proceedings: 11th Annual Family Business Network World Conference.
Poutzioris, P. Z., Steier, L. and Smymios, K. X. (2004). “Guest editorial a commentary on family business entrepreneurial developments.” International Journal of Entrepreneurial Behaviour & Research, 10(1): 7-11.
Poza, E. J. (2010). Family Business. 3rd edition, OH: South-Western Cengage Learning.
Santiago, A. L. (2000). “Succession experiences in Philippine family business.” Family Business Review, 13(1): 15-40.
Seymour, K. C. (1993). “Intergenerational relationships in the family firm: The effect on leadership succession.” Family Business Review, 6(3): 263–281.
Shanker, M. C. and Astrachan, J. H. (1996). “Myths and realities: Family businesses’ contribution to the US economy-A framework for assessing family business statistics.” Family Business Review, 9(2): 107-119.
Sharma, P. (1997). “Determinants of the satisfaction of the primary stakeholders with the succession process in family firms.” Unpublished doctoral thesis, Canada: University of Calgary.
Sharma, P. (2004). “An overview of family business studies: Current status and directions for the future.” Family Business Review, 17(1): 1–36.
Sharma, P., Chrisman J. J. and Chua, J. (1997). “Strategic management of the family business: Past research and future challenges.” Family Business Review, 10(1): 1-33.
Sharma, P., Chrisman J. J., Pablo, A. L., and Chua, J. H. (2001). “Determinants of initial satisfaction with the succession process in family firm: A conceptual model. International Association for Business and Society.” Entrepreneurship Theory and Practice, 25(3): 17-35.
Sharma, P., Chrisman J. J., Pablo, A. L., and Chua, J. H. (2003). “Predictors of satisfaction with the succession process in family firm.” Journal of Business Venturing, 18(5): 667-687.
Shepherd, D. A. and Zacharakis, A. (2000). “Structuring family business succession: an analysis of the future leader’s decision making.” Entrepreneurship Theory and Practice, 24(4): 25–39.
Smyrnior, K. X., and Walker, R. H. (2003). The Boyd partners: Australian family and private business survey 2003. Melbourne: RMIT University.
Stafford, K., Duncan, K. A., Dane, S., and Winter, M. (1999). “A Research Model of Sustainable Family Businesses.” Family Business Review, 12(3): 197-208.
Stavrou, E. (1995). The next generation’s dilemma: To join or not to join the family business. Family Firm Institute Conference Proceedings.
Stavrou, E. (1999). “Succession in family businesses: Exploring the effects of demographic factors on offspring intentions to join and take over the business.” Journal of Small Business Management, 37(3): 43–62.
Stempler, G. L. (1988). “A study of succession in family owned businesses.” Unpublished doctoral thesis, Washington, DC: The George Washington University.
Stravrou, E.T. and Swiercz, P.M. (1998). “Securing the future of family enterprise: A model of offspring intentions to join the business.” Entrepreneurship Theory and Practice, 23(2): 19-39.
Suehiro, A., and Wailerdsak, Natenapha. “Family Business in Thailand: Its Management, Governance, and Future Challenges.” ASEAN Economic Bulletin Vol. 21 No. 1, 2004: 81-93.
Suh, I. Park, Yun-Hee and Park, Taekyung (2008). “Factors influencing business succession.” IIR Working Paper, Tokyo, Japan: Institute of Innovation Research, Hitotsubashi University.
Taylor, J., Norris, J. E., and Howard, W. H. (1998). “Succession patterns of farmer and successor in Canadian farm families.” Rural Sociology, 63(4): 553-573.
Van der Westhuizen, S. (2009). “An assessment of harmonious family relationships in small and medium-sized family businesses.” Unpublished MBA-dissertation, North-West University, Potchefstroom Campus.
Venter, E., Boshoff, C. & Maas, G. (2005). “The influence of succession process in small and medium-sized family businesses.” Family Business Review, 18(4): 283-303.
Wang Y. and Poutziouris P. (2003). Michael Stone Ltd: Balancing family tradition with entrepreneurial growth. In The Growing Business Handbook (6th edition) London: Kogan Page.
Ward, J. L. (1988). “The special role of strategic planning for family businesses.” Family Business Review, 1(2): 105-117.
Ward, J. L. (1997). “Growing the family business: Special challenges and best practices.” Family Business Review, 10(4): 323-337.
Ward, J. L. (2005). Unconventional wisdom. England: John Wiley & Sons.
Weinstein, A. G. (1999). Family business in the United States-Research and observations. Presented at the 44th World Conference of the International Council for Small Business. Naples, Italy.
Westhead, P. and Cowling, M. (1997). “Performance contrasts between family and non-family unquoted companies in the UK.” International Journal of Entrepreneurial Behavior and Research, 3(1): 30-52.
Woodall, J., and Winstanley, D. (1998). Management development strategy and practices. Oxford: Wiley-Blackwell.
Yeh, Y., Lee, T-S. and Woidtke, T. (2001). “Family control and corporate governance: Evidence from Taiwan.” International Review of Finance, 2(1): 21-48.
ธนพล พูนศักดิ์อุดมสิน. (2552). “ธุรกิจครอบครัวกับการสืบทอดอานาจ (ตอน 3).” บทความออนไลน์, สืบค้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2554 จาก http://www.brandage.com
ผู้จัดการออนไลน์. (2553). “ผลศึกษาชี้ธุรกิจครอบครัวไทยเสี่ยงล่มสลายชู 'เซ็นทรัล-มิตรผล' ต้นแบบธุรกิจยั่งยืน!.” บทความออนไลน์,
สืบค้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2554 จาก http://www.gotomanager.com
ศิริยุพา รุ่งเริงสุข. (2550). “จุดเด่น จุดด้อยของธุรกิจครอบครัว.” บทความออนไลน์, สืบค้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2554 จาก http://www.thaihomemaster.com
สรรค์ชัย เตียวประเสริฐกุล. (2550). “ ธุรกิจครอบครัวไม่ใช่เรื่องเล่นๆ.”
นิตยสารแบรนด์เอจออนไลน์ สืบค้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2554 จาก http://www.brandage.com
สุรศักดิ์ ไชยธนกิจ. (2550). “Evolution of family firms from the perspective of intellectual capital governance: Evidence from Thailand.”
บทความออนไลน์ สืบค้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2554 จาก http://www.thailandnce.eco.ku.ac.th
David, B. (2011). “Principles of succession in family business.” Retrieved on 29 March 2011 from http://davidbork.com
Davis, P. (1990). “Three types of founders-and their dark sides.” Retrieved on 29 March 2011 from http://www.familybusinessmagazine.com
Ibrahim, H., Samas, M. F. A. and Amir, A. (2008). “Board structure and corporate performance: Evidence from public-listed family-ownership in Malaysia.” Retrieved on 29 March 2011 from http://ssrn.com
Kunkel, S. (2003). “Family-owned business success: Leveraging advantages and mastering challenges.” Retrieved on 25 February 2011 from http://www.smallbizpartners.com

เกี่ยวกับผู้เรียบเรียง

นักการตลาดกากๆคนหนึ่ง

ผู้ที่ชอบสังเกตุเรื่องราวต่างๆ แล้วมารวมแนวคิด กลั่นมันออกมา

แสดงความคิดเห็น

 
MBA Marketing © 2015